วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนประจำวัน ที่ 28 เมษายน 2559 (เรียนชดเชย)

                             
                                 Lesson 9

Knowledge: 


โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)

แผน IEP

1.       แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
2.       เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมกับความ  ต้องการและความสามารถของเขา
3.       ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
4.       โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมินผลเด็ก
·                     การเขียนแผน IEP
1.                   คัดแยกเด็กพิเศษ
2.                   ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
3.                   ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ จะทำให้ทราบว่าจะต้องเริ่มช่วยเหลือเด็กจากจุดไหน ในทักษะใด 
4.                   สามารถทำอะไรได้  / เด็กไม่สามารถทำอะไรได้
5.                   แล้วจึงเริ่มเขียนแผน IEP

·                     IEP ประกอบด้วย
1.                   ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
2.                   ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
3.                   การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
4.                   เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้น
5.                   ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
6.                   วิธีการประเมินผล







·                     การรวบรวมข้อมูล เช่น รายงานทางการแพทย์  รายงานการประเมินด้านต่างๆ บันทึกจากผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง

·                     การจัดทำแผน  ได้แก่  ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง   กำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวและระยะสั้น  กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม   จะต้องได้รับการรับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

·                     การใช้แผน
1.                แผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใช้โดยจะใช้แผนระยะสั้น
2.                นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
3.                แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก
4.                จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
5.                ต้องมีการสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและความสามารถ โดยคำนึงถึง
·                     ขั้นตอนพัฒนาการของเด็กปกติ
·                     ตัวชี้วัดพื้นฐานที่เกี่ยวกับปัญหาของพัฒนาการเด็ก
·                     อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมของเด็กและผู้ใหญ่ที่มีผลต่อการแสดงออกของเด็ก

·                     การประเมินผล 
โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัดผล




การจัดทำ IEP








ทำกิจกรรมวาดวงกลม กิจกรรมนี้สื่อให้เห็นอารมณ์ของเเต่ละคนได้ 



Apply:   สมารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ไปเป็นเเนวทางในการเขียนเเผนให้กับเด็กที่มีความต้องการพิเศษได้ 


Evaluation: 

  Teacher :  เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจนและเข้าใจง่าย

 Friends:   แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา


 Self:  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
  









วันพฤหัสบดีที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนประจำวัน ที่ 22 เมษายน 2559


Lesson 8




 Knowledge:

การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรม เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศ


 






การสื่อความหมายทดแทน




บทบาทของครู
          ตำแหน่งการนั่งของเด็กไม่ควรให้นั่งติดหน้าต่างหรือประตู
          ให้เด็กนั่งแถวหน้าสุดใกล้โต๊ะครู
          จัดให้เด็กนั่งติดกับนักเรียนที่ไม่ค่อยเล่น ไม่ค่อยคุยในระหว่างเรียน
          ให้เด็กมีกิจกรรม เปลี่ยนอิริยาบถบ้าง










Apply:   สมารถ นำความรูัที่ในไปใช้ในการเป็นครูในอนาคต เช่นการดูเเล ช่วยเหลือเด็ก เเก้ไขปัญหา ให้เด็กมีพัฒนาการไปในทางที่ดีเเละสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ในระดับหนึ่งซึ่งครูจะเป็นผู้ดำเนินผ่านกิจกรรมต่างๆ

Evaluation: 


  Teacher :  
เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจน สอนสนุก

   Friends:   แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา มีการตอบคำถาม ตั้งใจเรียน 

   
   Self:  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน ตอบคำถาม ตั้งคำถาม 






บันทึกการเรียนประจำวัน ที่ 1 เมษายน 2559


Lesson 7


 Knowledge:
 การจัดประสบการณ์ การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย




ความหมายของการศึกษาแบบเรียนร่วม 



ความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม 









ครูทำอะไรบ้าง


Apply:   


Evaluation: 

  Teacher :  
เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจนพร้อมทั้งมีวีดีโอประกอบชัดเจน และยังมีกิจกรรมให้ทำเป็นการวัดความเป็นครูจริงๆ
  Friends:   
แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยกันบ้างบางเวลา
 Self:  
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน




วันพุธที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนประจำวันที่ 11 มีนาคม 2559



                                                    Lesson 6

 Knowledge:
    
    เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
  มีความรู้สึกนึกคิดที่ผิดไปจากปกติ
  แสดงออกถึงความต้องการทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
  มีความเชื่อมั่นในตนเองต่ำ
  เด็กที่มีการควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสภาพปกตินาน ๆ ไม่ได้
  เด็กที่ควบคุมพฤติกรรมบางอย่างของตนเองไม่ได้

  ทำให้ไม่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเรียบร้อย

ลักษณะของเด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
  ความวิตกกังวล (Anxiety) ซึ่งทำให้เด็กมีนิสัยขี้กลัว
  ภาวะซึมเศร้า (Depression) มีความเศร้าในระดับที่สูงเกินไป
  ปัญหาทางสุขภาพ และขาดแรงกระตุ้นหรือความหวังในชีวิต 

สมาธิสั้น
   •  มีลักษณะกระวนกระวาย ไม่สามารถนั่งนิ่งๆ ได้ หยุกหยิกไปมา
   •  พูดคุยตลอดเวลา มักรบกวนหรือเรียกร้องความสนใจจากผู้อื่น
   •  มีทักษะการจัดการในระดับต่ำ
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเด็ก
    • ไม่สามารถเรียนหนังสือได้เช่นเด็กปกติ
     • รักษาความสัมพันธ์กับเพื่อนหรือกับครูไม่ได้   
   • มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เมื่อเทียบกับเด็กในวัยเดียวกัน  
   • มีความคับข้องใจ มีความเก็บกดอารมณ์
    • แสดงอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
    • มีความหวาดกลัว
ADHD เป็นภาวะผิดปกติทางจิตเวชมีลักษณะเด่นอยู่ 3 ประการ คือ 
       • Inattentiveness
    • Hyperactivity
     • Impulsiveness

 เด็กพิการซ้อน 


•  เด็กที่มีความบกพร่องที่มากกว่าหนึ่งอย่าง เป็นเหตุให้เกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก
•  เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
•  เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด

•  เด็กที่ทั้งหูหนวกและตาบอด

Apply:   สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการสอนเด็กในอนาคตได้อย่างถูกต้อง ช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

Evaluation: 


  Teacher :  
เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจน สอนสนุก

   Friends:   แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา มีการตอบคำถาม

   
   Self:  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน ตอบคำถาม