วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนประจำวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559


                                    
                                  Lesson 5




 Knowledge:

เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ 






1.ความผิดปกติของการทำงานของสมองที่ไม่สามารถถอดรหัสตัวอักษรออกมาได้ (เชื่อมโยงภาพตัวอักษรเข้ากับเสียงไม่ได้)
 2.กรรมพันธุ์
1. ด้านการอ่าน (Reading Disorder)
 หนังสือช้า ต้องสะกดทีละคำ
  อ่านออกเสียงไม่ชัด ออกเสียงผิด หรืออาจข้ามคำที่อ่านไม่ได้ไปเลย
  ไม่เข้าใจเนื้อหาที่อ่าน หรือจับใจความสำคัญไม่ได้
2. ด้านการเขียน (Writing Disorder)
  เขียนตัวหนังสือผิด สับสนเรื่องการม้วนหัวอักษร เช่น จาก ม เป็น น หรือจาก ภ เป็น ถ เป็นต้น
  เขียนตามการออกเสียง เช่น ประเภท เขียนเป็น ประเพด
  เขียนสลับ เช่น สถิติ เขียนเป็น สติถิ
3. ด้านการคิดคำนวณ (Mathematic Disorder)
  ตัวเลขผิดลำดับ
  ไม่เข้าใจเรื่องการทดเลขหรือการยืมเลขเวลาทำการบวกหรือลบ
  ไม่เข้าหลักเลขหน่วย สิบ ร้อย
  แก้โจทย์ปัญหาเลขไม่ได้
4. หลายๆ ด้านร่วมกัน






                                   "ไม่สบตา ไม่พาที ไม่ชี้นิ้ว"

ลักษณะของเด็กออทิสติก
    อยู่ในโลกของตนเอง
    ไม่เข้าไปหาใครเพื่อให้ปลอบใจ
    ไม่เข้าไปเล่นในกลุ่มเพื่อน
    ไม่ยอมพูด
     เคลื่อนไหวแบบซ้ำๆ 


Apply:   สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการสอนเด็กในอนาคตได้อย่างถูกต้อง ช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

Evaluation: 


  Teacher :  
เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจน สอนสนุก

   Friends:   แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา มีการตอบคำถาม

   
   Self:  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน ตอบคำถาม

วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนประจำวันที่ 5 กุมพาพันธ์ 2559

  

                                                    

                             Lesson 4



ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ


4. เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา  

                                                                                                         
1.ความบกพร่องในด้านการปรุงเสียง


2.ความบกพร่องของจังหวะเเละขั้นตอนของเสียงพูด




3.ความบกพร่องของเสียงพูด

ความบกพร่องทางภาษา   หมายถึง การขาดความสามารถที่จะเข้าใจความหมาย
ของคำพูด และ/หรือไม่สามารถแสดงความคิดออกมาเป็นถ้อยคำได้

1. การพัฒนาการทางภาษาช้ากว่าวัย
2. ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า


5.เด็กทีมีความบกพร่องทางด้านร่างกายเเละสุขภาพ 



          เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน
          อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหายไป
          เจ็บป่วยเรื้อรังรุนแรง
          มีปัญหาทางระบบประสาท
          มีความลำบากในการเคลื่อนไหว


ซี.พี.  (Cerebral Palsy) 






          การเป็นอัมพาตเนื่องจากระบบประสาทสมองพิการ หรือเป็นผลมาจากสมองที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอด
          การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า เด็กซีพี มีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่าง ๆ ของสมองแตกต่างกัน

1.กลุ่มแข็งเกร็ง (spastic)


2.กลุ่มที่มีการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นเอง (athetoid , ataxia)


3. กลุ่มอาการแบบผสม (Mixed)


โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ (Orthopedic) 






Apply:   สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการสอนเด็กในอนาคตได้อย่างถูกต้อง ช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

Evaluation: 

  Teacher :  เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจน สอนสนุก

   Friends:   แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา มีการตอบคำถาม

   
   Self:  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน ตอบคำถาม










วันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนประจำวันที่ 29 มกราคม 2559



                                         Lesson 3




 Knowledge:

ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

เเบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆคือ 

1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง มีความเป็นเลิศทางปัญญา


2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง

1.เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
2.เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
3.เด็กที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น
4.เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายเเละสุขภาพ
5.เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดเเละภาษา
6.เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมเเละอารมณ์
7.เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
8.เด็กออทิสติก
9.เด็กพิการซ้อน


เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา  มี 2 กลุ่ม คือ

1เด็กเรียนช้า มีระดับสติปัญญา (IQ) ประมาณ 71-90
2. เด็กปัญญาอ่อน  ระดับสติปัญญา (IQ) แบ่งได้ 4 กลุ่ม 
เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก IQ ต่ำกว่า 20
เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-34 เรียกกลุ่มนี้ว่า C.M.R
เด็กปัญญาอ่อนปานกลาง IQ 35-49 เรียกกลุ่มนี้ว่า T.M.R
เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70 เรียกกลุ่มนี้ว่า E.M.R
ลักษณะเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา

ดาวน์ซินโดรม


เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน

1. เด็กหูตึง จำแนกได้ 4 กลุ่ม  
หูตึงระดับน้อย ได้ยินตั้งแต่ 26-40 dB
หูตึงระดับปานกลาง ได้ยินตั้งแต่ 41-55 dB
หูตึงระดับมาก ได้ยินตั้ง 56-70 dB
หูตึงระดับรุนแรง ได้ยินตั้งแต่ 71-90 dB
2. หูหนวก  ระดับการได้ยินตั้งแต่ 91 dB ขึ้นไป


  เด็กที่บกพร่องทางการมองเห็น
1. เด็กตาบอด  
มีสายตาข้างดีมองเห็นได้ในระยะ 6/60  20/200  ลงมาจนถึงบอดสนิท
มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดแคบกว่า 5 องศา

2.เด็กตาบอดไม่สนิท
เมื่อทดสอบสายตาข้างดีจะอยู่ในระดับ 6/18  20/60  6/60  20/200 หรือน้อยกว่านั้น
มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา


Apply:   สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการสอนเด็กในอนาคตได้อย่างถูกต้อง ช่วยส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

Evaluation: 

  Teacher :  เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจน สอนสนุก

   Friends:   แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา มีการตอบคำถาม

   
   Self:  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน ตอบคำถาม


บันทึกการเรียนประจำวันที่ 22 มกราคม 2559


  


                                       Lesson 2


 Knowledge:


เด็กที่มีความต้องการพิเศษ









1.พันธุกรรม

>>เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งเเต่เกิดหรือสังเกตได้ขั่วระยะไม่นานหลังเกิด มักมีลักษณะผิดปกติเเต่กำเนิดร่วมด้วย




2. โรคของระบบประสาท

>>  เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการส่วนใหย่มักมีอาการหรืออาการเเสดงทางระบบประสาทร่วมด้วย
>>  ที่พบบ่อยคืออาการชัก

3.การติดเชื้อ

>>  เช่น สมองอักเสบ เยื้อหุ้มสมองอักเสบ

4.ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม

 >>  โรคที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขไทย คือ ไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดตํ่า

5.ภาวะเเทรกซ้อนระยะเเรกเกิด

>>  การเกิดก่อนกำหนด นํ้าหนักตัวเเรกเกิดน้อย เเละภาวะขาดออกซิเจน

6.สารเคมี

>> เช่น ตะกั่ว



>> เเอลกอฮอล์

>> นิโคติน

7. การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร

8. สาเหตุอื่นๆ








ทำเเบบทดสอบสติปัญญา



Apply:   

Evaluation: 

  Teacher :  เข้าสอนตรงเวลา ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนได้ชัดเจน

   Friends:   แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา

   
   Self:  เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน